สาขาที่เปิดสอน

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เป็นสาขาที่ขาดแคลนของชาติในปัจจุบัน และกองทุนเงินให้กู้ที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.), กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) (Human Capital) พร้อมให้กู้ สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพราะรัฐได้เล็งเห็นว่าการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เป็นสายงานที่จะมีความสำคัญต่อการแข่งขันในอนาคต ช่วยให้ประเทศชาติเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับตลาดโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพของศาสตร์เชิงวิชาการต่างๆ เข้าด้วยกัน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงของธุรกิจ และสร้างให้บุคลากรเกิดแนวคิดเชิงระบบ กล่าวคือ ไม่ได้พิจารณาเพียงแค่แผนก หรือหน่วยงาน หรือองค์กรหนึ่งเท่านั้น แต่ต้องพิจารณาทั่วทั้งองค์กร ไปตลอดจนพันธมิตรทางธุรกิจในทุกๆ ส่วน และต้องคำนึงถึงวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ด้วย (ตั่งแต่เริ่มผลิตสินค้า จนถึงสินค้าหมดอายุ และการทำลายสินค้า) ส่งผลให้เกิดผลลัพทธ์ทางด้าน ต้นทุน เวลาที่เหมาะสมและคุณภาพของสินค้าที่ลูกค้าต้องการ

____
Human* คือสาขาที่ร่วมโครงการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์
(Human Capital) ผู้กู้ กยศ.และ กรอ. รับเงื่อนไขพิเศษ 2 ต่อ 
เมื่อจบการศึกษา
ต่อที่ 1 ลดเงินต้น 30% 
ต่อที่ 2 ลดดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี (จากปกติ 1% ต่อปี)

UploadImage

จุดเด่น

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยศรีปทุม
"สร้างความเชี่ยวชาญในงานด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน" นักศึกษาจะได้เรียนรู้การวางแผนการขนส่ง การจัดเก็บและควบคุมสินค้า การจัดซื้อจัดหา การจัดการศูนย์กระจายสินค้า การบรรจุภัณฑ์ การส่งมอบสินค้า การติดต่อทำธุรกิจระหว่างประเทศ โดยเรียนกับมืออาชีพในวงการ มีทัศนศึกษาดูงานและปฏิบัติงานกับสถานประกอบการชั้นนำก่อนสำเร็จการศึกษา
 

อาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา

- นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ  
- นักวางแผนและควบคุมการขนส่ง  
- นักวางแผนและควบคุมการกระจายสินค้า  
- นักวางแผนและควบคุมการจัดซื้อ  
- ผู้ให้บริการด้าน Freight Forwarder  
- ผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์  
- ผู้บริหารขนส่ง  
- ผู้บริหารคลังสินค้า  
- ตัวแทนขนส่งสินค้าทางบก ทะเล และอากาศ
- นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
- นักวางแผนวัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า
- นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ
- นักวิจัย/นักวิชาการด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
- นักวิจัย/นักวิชาการด้านการจัดการการปฏิบัติการ
- อาจารย์หรือนักวิชาการประจำสถาบันต่าง ๆ
- เจ้าของกิจการและผู้ประกอบอาชีพอิสระทางธุรกิจ
- ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชนในระดับสูง
- นักวิจัยทางด้านบริหารธุรกิจของหน่วยงานต่างๆ หรือ นักวิจัยอิสระ
- ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ให้แก่บริษัทเอกชนและหน่วยงานของรัฐ
- ฯลฯ
 

UploadImage

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน-โลจิสติกส์นำเข้าส่งออก

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เป็นสาขาที่ขาดแคลนของชาติในปัจจุบัน และกองทุนเงินให้กู้ที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.), กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) (Human Capital) พร้อมให้กู้ สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพราะรัฐได้เล็งเห็นว่าการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เป็นสายงานที่จะมีความสำคัญต่อการแข่งขันในอนาคต ช่วยให้ประเทศชาติเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับตลาดโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพของศาสตร์เชิงวิชาการต่างๆ เข้าด้วยกัน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงของธุรกิจ และสร้างให้บุคลากรเกิดแนวคิดเชิงระบบ กล่าวคือ ไม่ได้พิจารณาเพียงแค่แผนก หรือหน่วยงาน หรือองค์กรหนึ่งเท่านั้น แต่ต้องพิจารณาทั่วทั้งองค์กร ไปตลอดจนพันธมิตรทางธุรกิจในทุกๆ ส่วน และต้องคำนึงถึงวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ด้วย (ตั่งแต่เริ่มผลิตสินค้า จนถึงสินค้าหมดอายุ และการทำลายสินค้า) ส่งผลให้เกิดผลลัพทธ์ทางด้าน ต้นทุน เวลาที่เหมาะสมและคุณภาพของสินค้าที่ลูกค้าต้องการ

____
Human* คือสาขาที่ร่วมโครงการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์
(Human Capital) ผู้กู้ กยศ.และ กรอ. รับเงื่อนไขพิเศษ 2 ต่อ 
เมื่อจบการศึกษา
ต่อที่ 1 ลดเงินต้น 30% 
ต่อที่ 2 ลดดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี (จากปกติ 1% ต่อปี)

UploadImage

จุดเด่น

กลุ่มวิชาโลจิสติกส์นำเข้าส่งออก (IM-EX Logistics)

- พิธีการศุลกากร (Customs Formality)
- การขนส่งสินค้าทางทะเล (Sea Freight)
- โลจิสติกส์การค้าระหว่างประเทศ (International Trade Logistics)
- การขนส่งสินค้าทางอากาศ (Air freight)
- การขนส่งสินค้าต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal Transport)

อาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา

- นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ  
- นักวางแผนและควบคุมการขนส่ง  
- นักวางแผนและควบคุมการกระจายสินค้า  
- นักวางแผนและควบคุมการจัดซื้อ  
- ผู้ให้บริการด้าน Freight Forwarder  
- ผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์  
- ผู้บริหารขนส่ง  
- ผู้บริหารคลังสินค้า  
- ตัวแทนขนส่งสินค้าทางบก ทะเล และอากาศ
- นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
- นักวางแผนวัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า
- นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ
- นักวิจัย/นักวิชาการด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
- นักวิจัย/นักวิชาการด้านการจัดการการปฏิบัติการ
- อาจารย์หรือนักวิชาการประจำสถาบันต่าง ๆ
- เจ้าของกิจการและผู้ประกอบอาชีพอิสระทางธุรกิจ
- ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชนในระดับสูง
- นักวิจัยทางด้านบริหารธุรกิจของหน่วยงานต่างๆ หรือ นักวิจัยอิสระ
- ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ให้แก่บริษัทเอกชนและหน่วยงานของรัฐ
- ฯลฯ
 

UploadImage

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เทียบโอน ปวส. (วันอาทิตย์)

การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เป็นสาขาที่ขาดแคลนของชาติในปัจจุบัน และกองทุนเงินให้กู้ที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.) พร้อมให้กู้ในปีการศึกษา 2551 เพราะรัฐได้เล็งเห็นว่าการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เป็นสายงานที่จะมีความสำคัญต่อการแข่งขันในอนาคต ช่วยให้ประเทศชาติเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับตลาดโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพของศาสตร์เชิงวิชาการต่างๆ เข้าด้วยกัน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงของธุรกิจ และสร้างให้บุคลากรเกิดแนวคิดเชิงระบบ กล่าวคือ ไม่ได้พิจารณาเพียงแค่แผนก หรือหน่วยงาน หรือองค์กรหนึ่งเท่านั้น แต่ต้องพิจารณาทั่วทั้งองค์กร ไปตลอดจนพันธมิตรทางธุรกิจในทุกๆ ส่วน และต้องคำนึงถึงวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ด้วย (ตั่งแต่เริ่มผลิตสินค้า จนถึงสินค้าหมดอายุ และการทำลายสินค้า) ส่งผลให้เกิดผลลัพทธ์ทางด้าน ต้นทุน เวลาที่เหมาะสมและคุณภาพของสินค้าที่ลูกค้าต้องการ

UploadImage

จุดเด่น

"สร้างความเชี่ยวชาญในงานด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน" นักศึกษาจะได้เรียนรู้การวางแผนการขนส่ง การจัดเก็บและควบคุมสินค้า การจัดซื้อจัดหา การจัดการศูนย์กระจายสินค้า การบรรจุภัณฑ์ การส่งมอบสินค้า การติดต่อทำธุรกิจระหว่างประเทศ โดยเรียนกับมืออาชีพในวงการ มีทัศนศึกษาดูงานและปฏิบัติงานกับสถานประกอบการชั้นนำก่อนสำเร็จการศึกษา
 

อาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา

- นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ
- นักวางแผนและควบคุมการขนส่ง
- นักวางแผนและควบคุมการกระจายสินค้า
- นักวางแผนและควบคุมการจัดซื้อ
- ผู้ให้บริการด้าน Freight Forwarder
- ผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์
- ผู้บริหารขนส่ง
- ผู้บริหารคลังสินค้า
- ตัวแทนขนส่งสินค้าทางบก ทะเล และอากาศ

UploadImage

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

การแข่งขันทางธุรกิจในยุคแห่งโลกาภิวัฒน์และการเค้าเสรีในปัจจุบันมิใช่เป็นเพียงการแข่งขันระหว่างองค์กรต่อองค์กรแบบดั้งเดิมเท่านั้น หากแต่เป็นการแข่งขันระหว่างซัพพลายเชนกับซัพพลายเชนที่ไม่เพียงแต่องค์กรเองจะต้องเข้มแข็งเท่านั้น แต่ลูกค้าและซัพพลายเออร์ทั้งหมดในซัพพลายเชนขององค์กรจะต้องเข้มแข็งด้วยจึงจะสามารถสร้างความสามารถในการแข่งขันในระดับสูงสุดให้กับซัพพลายเชนของตนได้ การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนจึงเป็นโจทย์สำหรับบุคคลากรและองค์กรสมัยใหม่ที่ต้องการความโดดเด่นเป็นผู้นำในแวดวงธุรกิจของตน เพื่อตอบโจทย์ทางธุรกิจดังกล่าว หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุมได้ออกแบบกระบวนการและสื่อการเรียนการสอนที่ล้ำสมัย มีระบบการวัดผลการเรียนด้วยผลงานที่เป็นรูปธรรมจับต้องได้ และบริหารหลักสูตรโดยนักวิชาการและนักปฏิบัติการระดับแนวหน้าของประเทศ (ดูจุดเด่นของหลักสูตรประกอบ) จากความพร้อมและความเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ ในข้างต้น ผมเชื่อว่าหลักสูตรนี้สามารถดึงศักยภาพสูงสุดของนักศึกษาทั้งในด้านความรู้เชิงวิชาการ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะการนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริงในสถานประกอบการ ให้เป็นผู้นำในการจัดการซัพพลายเชนที่ “คิดเป็น ทำเป็น พรีเซนต์ได้” อย่างโดดเด่นในแวดวงวิชาชีพของตน

UploadImage

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

จากความตื่นตัวและเติบโตด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานทั่วโลกในช่วง 10 กว่าปีที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยมีความต้องการองค์ความรู้ใหม่ๆ ทั้งในเชิงวิชาการและเชิงประยุกต์ชั้นสูงในการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานเพื่อสร้างความเหนือชั้นในการแข่งขันในระดับนานาชาติให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในภาครัฐและเอกชน และแนวโน้มความต้องการดังกล่าวจะทวีความสำคัญยิ่งขึ้นในอนาคต เพื่อตอบสนองความต้องการในระดับชาติดังกล่าว หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยศรีปทุม จึงออกแบบกระบวนการและสื่อการเรียนการสอนที่ล้ำสมัย มีการทำงานร่วมกับหน่วยงานเฉพาะทางที่เชี่ยวชาญด้านการวิจัยและให้คำปรึกษาแนะนำในการปรับปรุงระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เช่น สถาบันวิทยาการโซ่อุปทาน มีระบบการวัดผลการเรียนด้วยผลงานที่เป็นรูปธรรมจับต้องได้ และบริหารหลักสูตรโดยนักวิชาการและนักปฏิบัติการระดับแนวหน้าของประเทศ (ดูจุดเด่นของหลักสูตรประกอบ) จากความพร้อมและความเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ ในข้างต้น ผมเชื่อว่าหลักสูตรนี้สามารถสร้างนักวิจัยเชิงวิชาการและเชิงประยุกต์ชั้นสูงด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพในระดับแนวหน้าและเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติได้

UploadImage