คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นหนึ่งในคณะวิชาที่มีปณิธานที่จะพัฒนานักศึกษาให้มีความโดดเด่นทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ที่นำไปสู่การสร้างความสำเร็จในแบบฉบับที่เป็นตัวตนของนักศึกษา ภายใต้คำกล่าว “Make IT Your Way: สร้างความสำเร็จในแบบฉบับที่เป็นคุณ” ทั้งนี้ เป็นที่ทราบกันดีว่า พวกเราทุกคนก้าวสู่ยุคดิจิทัลที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยีใหม่และนวัตกรรมดิจิทัลที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สังคมของประเทศไปสู่การเป็นประเทศในรูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ...

+ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

SPU NEWS

เด็กศรีปทุม ฟังบรรยาย ‘อาจารย์เบียร์ ...

มหาวิทยาลัยศรีปทุม (SPU) โดยความร่วมมือของคณะบั...

COTH SPU พานักศึกษาเจาะลึกงานสายการบิน! ...

วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ สาขาวิชาธุรกิจการบิน ...

SPU ร่วมออกบูธงาน ‘One Stop ...

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ร่วมออกบูธงาน “One Stop Open ...

‘เด็กวิศวะระบบราง SPU’ โชว์ศักยภาพ! ...

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ขอแสดงความยินดีกับทีมนักศึกษาจากสาขาวิศวกรรมระบบราง ...

เก่งยกทีม! เด็กดิจิทัลมีเดีย ...

ทีม EvaGoo นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชันและวิชวลเอฟเฟกต์ ...

เก่งยกทีม! เด็กดิจิทัลมีเดีย ...

ทีม EvaGoo นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชันและวิชวลเอฟเฟกต์ ...

CALENDAR

สาขาที่เปิดสอน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เน้นการเตรียมบัณฑิตให้รองรับงานเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนของธุรกิจในทุกภาคส่วนที่จำเป็นต้องมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทางสาขามีความมุ่งมั่นจะสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศ

จุดเด่น

สาขามีความมุ่งมั่นที่จะสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป เพื่อรองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และผู้ใช้งานในองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศ

UploadImage ค่าเทอม      UploadImage สมัครเรียนออนไลน์  
UploadImage สามารถกู้ยืม กยศ. ลักษณะที่ 1 ได้

ค่าเทอม
- เทอม 1 ค่าเทอม 39,500 บาท
- ตลอดหลักสูตร ค่าเทอม 348,000 บาท

การชำระเงินลงทะเบียน DEK 66
- ผู้กู้ลักษณะที่ 1 ชำระเริ่มต้น 4,000 บาท ที่เหลือเป็นการกู้จากกองทุน
- ผู้ชำระเงินสด งวดแรกชำระ 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายใน 30 เมษายน 2566
- ชำระเต็มจำนวน
 

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - Cybersecurity

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เน้นวิเคราะห์และออกแบบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) แบบไร้ขีดจำกัด กับหลักสูตรขั้นเทพด้าน Data Security, PDPA, Network System และ Cloud Architecture เจาะลึกความรู้กับผู้เชี่ยวชาญ สอนวิเคราะห์ระบบและจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รองรับโลกอนาคตยุคดิจิทัลเช่น Digital Twin และ Blockchain พร้อมกับใบ Certificate มาตรฐานวิชาชีพไอที (ITPE) และทักษะในดูแลระบบให้ปลอดภัยกับการบริหารจัดการฐานข้อมูลและความมั่นคง ได้ฝึกฝีมือและมีประสบการณ์จริงกับองค์กรชั้นนำต่างๆ เพื่อเติบโตเป็นผู้บริหารเทคโนโลยีดิจิทัลระดับสูง CTO, CDO หรือสร้างธุรกิจ Start up เป็นของตัวเอง

จุดเด่น

สาขามีความมุ่งมั่นจะสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศ
 

UploadImage ค่าเทอม      UploadImage สมัครเรียนออนไลน์    
UploadImage สามารถกู้ยืม กยศ. ลักษณะที่ 1 ได้


ค่าเทอม
- เทอม 1 ค่าเทอม 39,500 บาท
- ตลอดหลักสูตร ค่าเทอม 348,000 บาท

การชำระเงินลงทะเบียน DEK 66
- ผู้กู้ลักษณะที่ 1 ชำระเริ่มต้น 4,000 บาท ที่เหลือเป็นการกู้จากกองทุน
- ผู้ชำระเงินสด งวดแรกชำระ 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายใน 30 เมษายน 2566
- ชำระเต็มจำนวน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปริญญาตรีที่ 2 ภาควันเสาร์-อาทิตย์ (Cyber security)

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เน้นการเตรียมบัณฑิตให้รองรับงานเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนของธุรกิจในทุกภาคส่วนที่จำเป็นต้องมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทางสาขามีความมุ่งมั่นจะสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศ

สาขามีความมุ่งมั่นจะสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศ
 

UploadImage ค่าเทอม      UploadImage สมัครเรียนออนไลน์    
 

การชำระเงินลงทะเบียน DEK 66
- ผู้ชำระเงินสด งวดแรกชำระ 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายใน 30 เมษายน 2566
- ชำระเต็มจำนวน

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ศึกษาพื้นฐานทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ของระบบคอมพิวเตอร์ โดยเน้นการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ทั้งส่วนอุปกรณ์ (Hardware) และส่วนชุดคำสั่ง (Software) ที่ใช้ในกิจการประมวลข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ผู้สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชานี้สามารถทำงานเป็นนักออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ เป็นวิศวกรส่วนชุดคำสั่งที่สามารถพัฒนาชุดคำสั่งระบบและชุดคำสั่งประยุกต์ใช้งานและเป็นฝ่ายสนับสนุนเทคนิคแก่องค์กรที่นำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการปฏิบัติงาน

จุดเด่น

หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นผู้นำด้านเทคโนโลยี ออกแบบพัฒนาระบบซอฟต์แวร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้ล้ำหน้า นำเทรนด์ความรู้ด้าน Artificial Intelligence of Things (AIoT)  และเน้นการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทั้งส่วนอุปกรณ์ (Hardware),ส่วนชุดคำสั่ง (Software) และปัญญาประดิษฐ์(AI) พัฒนาออกแบบระบบที่รองรับเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) ครอบคลุมทั้งระบบ เช่น การออกแบบอุปกรณ์ IoT การเชื่อมต่อเครือข่าย การจัดเก็บข้อมูลแบบทันเวลา(time series database) ระบบการตัดสินใจ ได้ฝึกมือในห้อง Maker Space สู่การทำงานจริงกับ Partner สมาคมไทยไอโอทีและองค์กรชั้นนำ
 

UploadImage ค่าเทอม   UploadImage สมัครเรียนออนไลน์  
 
UploadImage สามารถกู้ยืม กยศ. ลักษณะที่ 2 + Human* ได้

ค่าเทอม
- เทอม 1 ค่าเทอม 35,100 บาท
- ตลอดหลักสูตร ค่าเทอม 349,200 บาท

การชำระเงินลงทะเบียน DEK 66
- ผู้กู้ลักษณะที่ 1 ชำระเริ่มต้น 4,000 บาท ที่เหลือเป็นการกู้จากกองทุน
- ผู้ชำระเงินสด งวดแรกชำระ 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายใน 30 เมษายน 2566
- ชำระเต็มจำนวน

*หมายเหตุ :
Human* คือสาขาที่ร่วมโครงการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์
(Human Capital) ผู้กู้ยืม รับเงื่อนไขพิเศษ 2 ต่อ เมื่อจบการศึกษา
ต่อที่ 1 ลดเงินต้น 30%
ต่อที่ 2 ลดดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี (จากปกติ 1% ต่อปี)

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ - AIoT

เป็นผู้นำด้านเทคโนโลยี ออกแบบพัฒนาระบบซอฟต์แวร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้ล้ำหน้า นำเทรนด์ความรู้ด้าน Artificial Intelligence of Things (AIoT)  และเน้นการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทั้งส่วนอุปกรณ์ (Hardware),ส่วนชุดคำสั่ง (Software) และปัญญาประดิษฐ์(AI) พัฒนาออกแบบระบบที่รองรับเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) ครอบคลุมทั้งระบบ เช่น การออกแบบอุปกรณ์ IoT การเชื่อมต่อเครือข่าย การจัดเก็บข้อมูลแบบทันเวลา(time series database) ระบบการตัดสินใจ ได้ฝึกมือในห้อง Maker Space สู่การทำงานจริงกับ Partner สมาคมไทยไอโอทีและองค์กรชั้นนำ

จุดเด่น

หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ศึกษาพื้นฐานวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ของระบบคอมพิวเตอร์ โดยเน้นการออกแบบระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) ทั้งส่วนฮาร์ดแวร์ (Hardware) และส่วนชุดคำสั่ง (Software) ชุดคำสั่งประยุกต์ใช้งาน เทคโนโลยี VLSI และระบบเครือข่าย เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
 

UploadImage ค่าเทอม      UploadImage สมัครเรียนออนไลน์    
UploadImage สามารถกู้ยืม กยศ. ลักษณะที่ 2 + Human* ได้

ค่าเทอม
- เทอม 1 ค่าเทอม 35,100 บาท
- ตลอดหลักสูตร ค่าเทอม 349,200 บาท

การชำระเงินลงทะเบียน DEK 66
- ผู้กู้ลักษณะที่ 1 ชำระเริ่มต้น 4,000 บาท ที่เหลือเป็นการกู้จากกองทุน
- ผู้ชำระเงินสด งวดแรกชำระ 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายใน 30 เมษายน 2566
- ชำระเต็มจำนวน

*หมายเหตุ :
Human* คือสาขาที่ร่วมโครงการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์
(Human Capital) ผู้กู้ยืม รับเงื่อนไขพิเศษ 2 ต่อ เมื่อจบการศึกษา
ต่อที่ 1 ลดเงินต้น 30%
ต่อที่ 2 ลดดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี (จากปกติ 1% ต่อปี)

วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ (New)

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ (CSI) ได้รับการออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack ซึ่งปัจจุบัน การขับเคลื่อนธุรกิจในยุคดิจิทัล มีความต้องการใช้งานซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันและดิจิทัลแพลตฟอร์มที่สามารถทำงานแบบฉลาด (Smart) เช่น ระบบการซื้อ-ขายอัจฉริยะ ที่สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมความต้องการของลูกค้า (Customer Insight) สามารถคาดการณ์ ทำนาย ความต้องการใหม่ๆ และยอดขายในอนาคตได้

นอกจากนี้ ธุรกิจใหม่ที่เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน ในรูปแบบสกุลเงินดิจิทัล (คริปโตเคอเรนซี) การลงทุนแบบใหม่ เช่น DeFi, NFT, Metaverse ล้วนต้องการความสามารถของนักพัฒนาซอฟต์แวร์สมัยใหม่ที่มีความสามารถทั้งด้านการวิเคราะห์ความต้องการทางธุรกิจ การออกแบบการใช้งานซอฟต์แวร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (Front-end) และการพัฒนาซอฟต์แวร์ส่วนติดต่อการทำงานกับระบบสนับสนุนต่างๆ เช่น ระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ระบบคลาวด์ อาจเรียกได้ว่า นักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack ในแบบ “เขียน ครบ จบในคนเดียว”

ปัจจุบัน ทั้งภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรมดิจิทัล มีความต้องการบุคลากรในตำแหน่งงาน นักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack เป็นจำนวนมาก สาขาวิชา “วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์” จึงเป็นหลักสูตรที่ตอบโจทย์ความต้องการผลิตบุคลากร สายการพัฒนาซอฟต์แวร์ของประเทศ โดยผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทั้งองค์ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม ทั้งวิทยากร และสภาพแวดล้อมการทำงานร่วมกับตัวจริงประสบการณ์จริง

จุดเด่น

1. หลักสูตร CSI เน้นการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้เป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack “เขียน ครบ จบในคนเดียว” ซึ่งมีความทันสมัยและอุตสาหกรรมดิจิทัลของประเทศมีความต้องการบุคคลากรในสายงานนี้สูงมาก

2. หลักสูตร CSI ได้เสริมทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล A B C D I
                A: AI (Artificial Intelligence)
                B: Block chain
                C: Cloud Computing
                D: Big Data
                I: IoT (Internet of Things)
                เป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนสามารถนำเทคโนโลยีไปสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่
 

UploadImage ค่าเทอม      UploadImage สมัครเรียนออนไลน์    
UploadImage สามารถกู้ยืม กยศ. ลักษณะที่ 2 + Human* ได้

ค่าเทอม
- เทอม 1 ค่าเทอม 36,100 บาท
- ตลอดหลักสูตร ค่าเทอม 362,000 บาท

การชำระเงินลงทะเบียน DEK 66
- ผู้กู้ลักษณะที่ 1 ชำระเริ่มต้น 4,000 บาท ที่เหลือเป็นการกู้จากกองทุน
- ผู้ชำระเงินสด งวดแรกชำระ 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายใน 30 เมษายน 2566
- ชำระเต็มจำนวน

*หมายเหตุ :
Human* คือสาขาที่ร่วมโครงการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์
(Human Capital) ผู้กู้ยืม รับเงื่อนไขพิเศษ 2 ต่อ เมื่อจบการศึกษา
ต่อที่ 1 ลดเงินต้น 30%
ต่อที่ 2 ลดดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี (จากปกติ 1% ต่อปี)

วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ (New) - Full Stack Developer

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ (CSI) ได้รับการออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack ซึ่งปัจจุบัน การขับเคลื่อนธุรกิจในยุคดิจิทัล มีความต้องการใช้งานซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันและดิจิทัลแพลตฟอร์มที่สามารถทำงานแบบฉลาด (Smart) เช่น ระบบการซื้อ-ขายอัจฉริยะ ที่สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมความต้องการของลูกค้า (Customer Insight) สามารถคาดการณ์ ทำนาย ความต้องการใหม่ๆ และยอดขายในอนาคตได้

นอกจากนี้ ธุรกิจใหม่ที่เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน ในรูปแบบสกุลเงินดิจิทัล (คริปโตเคอเรนซี) การลงทุนแบบใหม่ เช่น DeFi, NFT, Metaverse ล้วนต้องการความสามารถของนักพัฒนาซอฟต์แวร์สมัยใหม่ที่มีความสามารถทั้งด้านการวิเคราะห์ความต้องการทางธุรกิจ การออกแบบการใช้งานซอฟต์แวร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (Front-end) และการพัฒนาซอฟต์แวร์ส่วนติดต่อการทำงานกับระบบสนับสนุนต่างๆ เช่น ระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ระบบคลาวด์ อาจเรียกได้ว่า นักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack ในแบบ “เขียน ครบ จบในคนเดียว”

ปัจจุบัน ทั้งภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรมดิจิทัล มีความต้องการบุคลากรในตำแหน่งงาน นักพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นจำนวนมาก สาขาวิชา “วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์” จึงเป็นหลักสูตรที่ตอบโจทย์ความต้องการผลิตบุคลากร สายการพัฒนาซอฟต์แวร์ของประเทศ โดยผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทั้งองค์ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม ทั้งวิทยากร และสภาพแวดล้อมการทำงานร่วมกับตัวจริงประสบการณ์จริง

จุดเด่น

1. หลักสูตร CSI เน้นการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้เป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack “เขียน ครบ จบในคนเดียว” ซึ่งมีความทันสมัยและอุตสาหกรรมดิจิทัลของประเทศมีความต้องการบุคคลากรในสายงานนี้สูงมาก

2. หลักสูตร CSI ได้เสริมทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล A B C D I
                A: AI (Artificial Intelligence)
                B: Block chain
                C: Cloud Computing
                D: Big Data
                I: IoT (Internet of Things)
                เป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนสามารถนำเทคโนโลยีไปสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่

3. หลักสูตร CSI เรียนกับตัวจริงประสบการณ์จริง


UploadImage
 

UploadImage ค่าเทอม      UploadImage สมัครเรียนออนไลน์    
UploadImage สามารถกู้ยืม กยศ. ลักษณะที่ 2 + Human* ได้

ค่าเทอม
- เทอม 1 ค่าเทอม 36,100 บาท
- ตลอดหลักสูตร ค่าเทอม 362,000 บาท

การชำระเงินลงทะเบียน DEK 66
- ผู้กู้ลักษณะที่ 1 ชำระเริ่มต้น 4,000 บาท ที่เหลือเป็นการกู้จากกองทุน
- ผู้ชำระเงินสด งวดแรกชำระ 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายใน 30 เมษายน 2566
- ชำระเต็มจำนวน

*หมายเหตุ :
Human* คือสาขาที่ร่วมโครงการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์
(Human Capital) ผู้กู้ยืม รับเงื่อนไขพิเศษ 2 ต่อ เมื่อจบการศึกษา
ต่อที่ 1 ลดเงินต้น 30%

ต่อที่ 2 ลดดอกเบี้ย 0.5% ต่อปี (จากปกติ 1% ต่อปี)  

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (M.S.IT.) มีการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้มีโอกาสปฏิบัติจริง มีการแลกเปลี่ยนความคิดและวิสัยทัศน์กับคณาจารย์ในหลักสูตรและผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีที่มาจากทั้งในภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมไอที เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ และสร้างความเป็นผู้นำ และผู้ประกอบการยุคใหม่ในวงการไอทีในอนาคต นอกจากนี้เนื้อหาในหลักสูตร M.S.IT. ได้บรรจุเทคโนโลยีอุบัติใหม่ (Emerging Technology) ไว้ในวิชาเลือก เพื่อให้นักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาที่มีเนื้อหาครอบคลุมเทคโนโลยีสมัยใหม่ตามความชอบและถนัดของตนเองเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะประสบการณ์และคุณลักษณะที่ตรงความต้องการของตลาดไอทีในปัจจุบัน 
วิชาในหลักสูตร
COURSE OFFERED
วิชาเสริมพื้นฐาน (Remedial Courses)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ, ขั้นตอนวิธีและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น, ระบบสารสนเทศ, ระบบจัดการฐานข้อมูล, การวิเคราะห์ ออกแบบและการสร้างระบบ, เครือข่ายคอมพิวเตอร์และระบบโทรคมนาคม

วิชาบังคับ (Required Courses)
ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ, ระบบฐานข้อมูลและข้อมูลขนาดใหญ่, เทคโนโลยีดิจิทัลอุบัติใหม่, การวิเคราะห์และออกแบบระบบการจัดการกระบวนการทางธุรกิจดิจิทัล, ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์

วิชาเลือก (Elective Courses)
สำหรับนักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ก 2 ให้เลือกเรียน 9 หน่วยกิต สำหรับนักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ข ให้เลือกเรียน 15 หน่วยกิต จากรายวิชาดังนี้
สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ, การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่, ระบบธุรกิจอัจฉริยะและการสนับสนุนการตัดสินใจ, เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และการประยุกต์, การวางแผนเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการโครงการ, การจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล, อินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง, หัวข้อพิเศษในเทคโนโลยีสารสนเทศ 1, หัวข้อพิเศษในเทคโนโลยีสารสนเทศ 2, หัวข้อพิเศษในเทคโนโลยีสารสนเทศ 3


วิทยานิพนธ์ (สำหรับนักศึกษาแผน ก แบบ ก2)
วิทยานิพนธ์

สารนิพนธ์ (สำหรับนักศึกษา แผน ข)
สารนิพนธ์

จุดเด่น

1. เรียน 1 ปี จำนวน 36 หน่วยกิต มีที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ / สารนิพนธ์ดูแลอย่างใกล้ชิด
2. ตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งทางวิชาการสายงาน IT ของ กพ.
3. เรียนจบจากสาขาที่ไม่ใช่ไอที ก็สามารถเข้าเรียนในหลักสูตรฯได้ โดยทางหลักสูตรฯ จัดให้มีการเรียนปรับพื้นฐานไอทีก่อนเรียน
4. สนับสนุนส่งเสริมการสอบ IT Certificate และ ประกาศนียบัตรคุณวุฒิทางวิชาชีพ
5. เน้นการเรียนการสอนเชิงรุกที่ให้ผู้เรียนมีกระบวนการเรียนรู้ การคิดและการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยอิงหลักการและเทคโนโลยีสมัยใหม่
6. หลักสูตรฯสร้างความเป็น IT มืออาชีพ เรียนกับตัวจริง ประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ชั้นนำด้านไอทีและผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยมาร่วมสอน
7. ส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ โดยหลักสูตรฯจัดกิจกรรมส่งเสริมในโครงการต่างๆเพื่อให้นักศึกษาที่สนใจเข้าร่วมโครงการและสามารถนำไปประกอบกิจการหลังจากจบหลักสูตรฯได้
หลักเกณฑ์การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์ : 
หลักเกณฑ์การตีพิมพ์ผลงานวิทยานิพนธ์เพื่อขอสำเร็จการศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2561 
หลักเกณฑ์การตีพิมพ์ผลงานสารนิพนธ์ :
หลักเกณฑ์การตีพิมพ์ผลงานสารนิพนธ์เพื่อขอสำเร็จการศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2561   

คำอธิบายรายวิชา (Course Description) 
ปฏิทินการศึกษา 2565   
 

UploadImage ค่าเทอม      UploadImage สมัครเรียนออนไลน์   

 

รางวัลนักศึกษาดีเด่น ระดับปริญญาโท
 จากสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.)


UploadImage
 
ทำเนียบนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.S.IT.) คลิก

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มุ่งเน้นการบ่มเพาะนักศึกษาให้มีความเข้าใจในแนวคิดและทักษะการทำวิจัยทั้งแบบเชิงทดลอง (Experimental Research) และเชิงสำรวจ (Survey Research) เพื่อสร้างผลงานที่โดดเด่นระดับ Cutting Edge พร้อมด้วยคณาจารย์มีความเชี่ยวชาญเชิงลึกโดยมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการและงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ทั้งยังมีประสบการณ์และผลงานวิจัยในภาคอุตสาหกรรม
โครงสร้างหลักสูตรปรับปรุง ปี 2562
Course Structure 48 
UploadImage

วิชาในหลักสูตร
COURSE OFFERED
วิชาเสริมพื้นฐาน (Remedial Courses)
การวิเคราะห์ ออกแบบและการสร้างระบบ, ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ, ระบบฐานข้อมูลและข้อมูลขนาดใหญ่, ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การประมวลผลแบบคลาวด์ และความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
 
วิชาบังคับ (Required Courses)
หัวข้อพิเศษระดับดุษฎีบัณฑิตทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1, หัวข้อพิเศษระดับดุษฎีบัณฑิตทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2, สัมมนาวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ, ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์

      เน้นการทำวิจัยขั้นสูงที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม และภาคสังคม โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ/ดิจิทัลสมัยใหม่ อาทิ ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน การประมวลผลแบบคลาวด์ ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ข้อมูลขนาดใหญ่ และอินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง
  • หลักสูตรมุ่งเน้นการบ่มเพาะนักศึกษาให้มีความเข้าใจที่ลึกซึ้งในแนวคิดและทักษะการทำวิจัยทั้งแบบเชิงทดลอง (Experimental Research) และเชิงสำรวจ (Survey Research) เพื่อสร้างผลงานที่โดดเด่นล้ำหน้าทันสมัย
  • เน้นการวิจัยที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ และร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมเพื่อกำหนดโจทย์วิจัยร่วมกันและหาคำตอบเชิงนวัตกรรมที่อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ/ดิจิทัล
  • หลักสูตรมีความพร้อมในการสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถสมัครขอรับทุนวิจัยระดับชาติ อาทิ ทุนวิจัย วช. ทุนวิจัย สกว. ทุนวิจัย สกอ. และ ทุนวิจัย กสทช.
  • คณาจารย์มีความพร้อมในการให้คำปรึกษาด้านการทำวิจัยเพื่อให้สำเร็จการศึกษาได้ตามแผนการศึกษา

    คะแนนสอบภาษาอังกฤษ ระดับ B2 ขึ้นไป (ตารางเทียบระดับความสามารถของ CERF ไฟล์แนบ)

UploadImage ค่าเทอม      UploadImage สมัครเรียนออนไลน์  

 
 รางวัลนักศึกษาดีเด่น ระดับปริญญาเอก
 จากสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.)
 
UploadImage
 
ทำเนียบผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.IT.) คลิก

ภาพบรรยากาศการเรียนการสอน

SHOWCASE

ศิษย์เก่า

  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
ครูประจำสายวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวานิชบริหารธุรกิจ
น.ส.สุนิษา ทองสุข
เลขานุการผู้บริหาร บมจ.ธนาคารกรุงไทย
ฉัตราภรณ์ บุญมา
CEO & Co-Founder บริษัท เทคฟาร์ม จำกัด
อานนท์ บุญยประเวศ
  ​นอกจากความรู้แล้ว ม.ศรีปทุมยังมีการกิจกรรมต่างๆ ให้นักศึกษาได้ทำร่วมกันอยู่เสมอ จึงได้รู้จักการทำงานเป็นทีม การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง การคิดวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนมากยิ่งขึ้น  
System Engineer, บริษัท บApar Technology (Thailand)
อัศวิน ดำศิลป์ (โอ๋)
  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  
System Engineer
ภาณุมาส มาลาเจริญ
  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยกรรมนครนายก
ว่าที่ ร.ต.คเชนทร์ สว่างอารมย์
  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  
นักคอมพิวเตอร์
นางสาวพัฒวนันท์ ขานทอง
  วิศวกรคอมพิวเตอร์ที่มีความเป็นมืออาชีพ  
Associate Software Engineer
นายเอกรักษ์ บุญพร้อม
  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
พนักงานธุรการ บัณฑิตศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
นางสาวสิรินทิพย์ ดีแนบเนียน
  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
โปรแกรมเมอร์ บริษัทโตโยต้า ลิชชิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด
น.ส.พิไลวรรณ ดิตถ์ภัทรไพศาล
  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
Sale & Marketing บริษัท Zuellig Pharma
น.ส.ชญานี เจือไธสง
  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกษา
น.ส.ณัฎฐานันตร์ จันทร์เมือง
  ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2564  
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2564
  ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2563  
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2563
  ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2562  
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2562
  ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2561  
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2561
  ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2560  
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2560
  ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2559   
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า M.S.IT. ปีการศึกษา 2559
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2560  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2560
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2559  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2559
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2558  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2558
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2557  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2557
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2556  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2556
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2555  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2555
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2554  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2554
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2553  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2553
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2552  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2552
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2551  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2551
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2550  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2550
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2549  
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2549
  ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2548   
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศิษย์เก่า Ph.D.IT. ปีการศึกษา 2548

เครือข่าย

เรียนกับตัวจริง ประสบการณ์จริง