บทความ “Develop Digital Workforce Skill and Organization Agility Presentation and Discussion Showcase”

UploadImage
 
เมื่อเร็วๆนี้ ได้มีการอบรม Professional Skill โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ (Non-Degree) Reskill-Upskill) รุ่นที่ 3  โดย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผ่านแอปพลิเคชัน ZOOM ครั้งที่ 15 ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของหลักสูตร การเปลี่ยนผ่านอุตสาหกรรมด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลและเข้าใจผู้บริโภคในเชิงลึก (Industries Transformation)

สำหรับในช่วงเช้า และช่วงบ่าย เป็นการบรรยายในหัวข้อ “Develop Digital Workforce Skill and Organization Agility Presentation and Discussion Showcase” พร้อมทำ Workshop โดยวิทยากรพิเศษ คือ อาจารย์ประกิต สังข์ป่า ที่ปรึกษากลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และได้รับเกียรติจากคณะกรรมการอีก 5 ท่าน  ซึ่งประกอบก้วย ดร.อภิศักดิ์ จุลยา รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และผู้บริหาร บริษัท นิภา เทคโนโลยี จำกัด ,คุณปิยะ พิริยะโภคานนท์ รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และผู้บริหาร บริษัท วิสดอม วาสท์ จำกัด,คุณวันชาติ สุทธิวรรณ กรรมการกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และผู้บริหาร บริษัท แวค รีเสิร์ช จำกัด,คุณคณพล วงศ์พิชญวิศาล กรรมการกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และผู้บริหาร บริษัท พิชญโซลูชั่น จำกัด และคุณศักดิ์พัฒน์ วิทยศักดิ์ กรรมการกลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และผู้บริหาร บริษัท โซลดิฟ จำกัด ที่มาช่วยให้แนวทางและคำแนะนำกับผู้เข้าอบรม พอ สรุปสาระสำคัญ ได้ดังนี้:

Introduction to Industry Transformation
Phase 1: เรียนรู้แนวคิดและเครื่องมือในการ Transform
1. Introduction to Transformation
2. Disruptive Technology and New Value
3. Analysis Digital Customer Behaviors and New Industry Models
4. Design Thinking and Rapid Innovation
5. Data-Driven (AI, Big Data)
6. Industry Transformation into Practice Case and Work Assignment
Phase 2: เทคโนโลยี และกรอบกระบวนการในการ Transform
7. From product to platform
8. Marketing Transformation
9. Smart Manufactory and Automation tools
10. System ที่ Integration (SI) and IoT implement in new industries
11. Industry Transformation Framework and canvas
12. Industry Transformation Roadmap and implementation
Phase 3: ประเมินและปรับเปลี่ยนในการ Transform
13. Industry 4.0 Revolution and Assessment Work Assignment mentor
14. Leadership and Summary Transformation
15. Develop Digital Workforce Skill and Organization Agility, Presentation and Discussion Showcase
Outcome ที่ต้องการ
 Step 1: มีองค์ความรู้ด้าน Industry Transformation
 Step 2: นำองค์ความรู้ที่ได้รับไป Transform องค์กร/ธุรกิจของตน
 Step 3: เป็นผู้เชี่ยวชาญในด้าน Transformation เพื่อให้คำปรึกษากับองค์กร/โรงงานต่างๆ ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และปรับกระบวนการ
 Step 4: สร้างแนวคิดทางธุรกิจขึ้นใหม่จากองค์ความรู้ที่ได้รับ
Develop Digital Workforce Skill and Organization Agility
1. Digital Workforce Skill Transformation
2. Organization Agility
3. The Digital Transformer’s Dilemma
4. Summary of Training
Digital Workforce Skill Transformation
Shared Questions of leading Digital Business
1. Clarity on need Serving/ Problem Solving
2. Understand Value to Customer
3. Understand Value to Business
4. Focus on designing the experience
5. Powered by engineering
6. Refined using Data & AI
Organization Agility คือ การปรับองค์กรให้เป็น Agile นั่นคือ ความคล่องตัว แตกองค์กรออกเป็นย่อย ๆ เป็นการกระจายอำนาจ ตัวอย่าง คือ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ซึ่งจัดเป็น Agile Process การทำงานของ Agile ได้แก่ การพยายามตัดงานออกเป็นย่อย ๆ เป็นลักษณะของวงกลมวนลูป เมื่อก่อนจะคล้ายกับ Water Fall แต่ไม่เหมือนกัน เพราะ Water Fall เมื่อทำเสร็จแล้วจึงนำมาเสนอ
Pivot Disrupt and Transform
What lead must STOP Doing and Why
STOP Focusing on the Numbers, The bottom line
STOP Setting Individual Goals, and Holding them Accountable
STOP Conduction performance Appraisals
STOP Getting poor Result
STOP Searching for best practices
STOP Creating Ineffective Mission Statements
STOP Creating Roadmap
STOP Using the language of failure
What lead must START Thinking
START Developing Essentials for Foundation to Grow
START Developing leaders who Transform
START Creating a system for optimization
START Understanding Variation
START Seeking Knowledge
START Understanding people
START Transforming not merely changing
START Discerning between the three different kind of change
What is Insight of Digital Transformation?
1. Transformation เป็นการทำมากกว่าเรื่องเทคโนโลยี
2. Digital Transformationไม่ใช่การ Implement แต่เป็นเรื่องของการเปลี่ยนแปลงองค์กรจากรากฐานของทุกองค์กรประเภทธุรกิจ
3. Digital Transformation จึงจำเป็นต้องใช้ความรู้จากลายมิติ ครอบคลุม Data customer market and competition Innovation และ Value ขององค์กร
4. Transformation ไม่มี Roadmap ตายตัว เป็นเรื่องของปัจเจกขององค์กร แตกต่างในรายละเอียด มิติ จุดเริ่มต้น และเป้าหมาย
5. Data-Driven Transformation
6. Digitize product and service into Digital format
7. Digital workforce is the real key of Industry Transformation
8. Digital transformation is value transformation
9. Digital Transformation เป็น iterative model จะต้องทำซ้ำ เพื่อปรับเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ อย่างไม่หยุดนิ่ง
10. Dual Transformation เป็นแนวปฏิบัติทำให้ transformation เกิดขึ้นจริง
11. สำคัญกว่าการเรียนรู้คืออะไร คือการเรียนรู้ได้อย่างไร-Transformation Knowledge
12. Digital Transformation is all about “Mindset”
Value of Industry Transformation Pillar (แบ่งส่วนให้ชัดเจน)
1. Technology Transformation -ลด ควบ กรอบของ Transformation เหลือ 5 ด้าน
• Disruptive Technology
• Mass Customization
• AI, Blockchain, 5G Networks, IoT
• Automation machines, Virtual, Augmented
• นำ Technology มาปรับปรุงกระบวนการทำงาน
• เน้น เพิ่ม ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
• นำ Innovation และ Disruptive Technology เข้ามาพัฒนากระบวนการผลิตและบริการขององค์กร
• มุ่งสู่ Customization Industry
2. Data Transformation
• มอง Data ขององค์กรให้รอบด้าน
• เก็บวิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำ Big Data
• Turn Data>>Digital Asset
• Data-Driven Organization
• กลุ่มที่ให้ความสำคัญในการ Transform คือ กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่
3. Product Transformation
Co-Creation
• ใช้ Value proposition จากในปัจจุบัน และShift ไปสู่ Value ใหม่
• Value Co-Creation เป็นการปฏิสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับลูกค้า สนับสนุนให้ลูกค้าสร้างคุณค่าตามกระบวนการสร้างคุณค่าของลุกค้าเอง (Customer own value creating process or customer journey)
• ลูกค้าเป็นผู้ร่วมสร้างคุณค่าเสมอ ซึ่งหมายความว่า ลูกค้ามีส่วนร่วมในการสร้างคุณค่า เพื่อให้ได้ Functional Value, Customer Experience, and Emotional Valueใช้เครื่องมือเช่น
o Value proposition> หา Value ปัจจุบัน
o Business model canvas> เข้าใจถึงกระบวนการของธุรกิจ และValue ของตน
o Design Thinking> หา Value ในอนาคตจากการ Disruption
• ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง Product หรือ Service
• ปรับเปลี่ยน Business model ขององค์กร
• พัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการ ให้อยู่ในรูปแบบของดิจิทัลโปรดักส์
• พัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเองในรูปแบบของ Service (Use of product) เพื่อให้ทันกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของผู้บริโภค และสร้าง Value Engagement ให้เกิดขึ้น
• เน้นการทำตลาด และ Engage กับลูกค้าด้วยวิชาการ และ Segment ใหม่
• พัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการของตนเองให้เป็น Platform ซึ่งสามารถ Scale ให้ใหญ่ขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
4. Process Transformation
Organization, Business process and culture Transformation
• ปรับปรุงกระบวนการทำงานในองค์กรด้วย Digitize และ Lean
• ปรับปรุง Business Process ขององค์กร
• สร้าง Digital Culture ให้กับองค์กร
• ปรับองค์กรให้มีความคล่องตัว ด้วยหลักการ  Agility Organization
• สร้าง Digital Strategy ให้กับองค์กร
• Digital Leadership
• ยกระดับ Digital Culture ให้เกิดขึ้นกับองค์กร
5. Workforce Transformation
• พัฒนากำลังคนด้านดิจิทัล ให้มี Digital Skill, Future Skill
• Design Thinking เป็น Skill ที่สำคัญในการทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลง
• สร้าง Digital Mindset ให้กับคนในองค์กร
• เสาะหา Talent ให้กับองค์กร
• ให้ Innovator ได้มีโอกาสในการขับเคลื่อนองค์กร
หลักสูตร Industries Transformation แตกต่างจากหลักสูตรอื่นๆ
ไม่ได้ Focus บน Awareness
มี Framework Model ที่หลากหลาย
แต่ไม่กำหนด Framework Model ที่ตายตัว แต่นำมาจากการกลั่นกรองในหลายมิติ จากหลายแหล่งอ้างอิง
สุดท้าย Framework ไม่สำคัญเท่า การสร้างกระบวนการคิดให้กับผู้เรียน
การ Transformation ที่สำเร็จ คือ กสนเปลี่ยนแปลงจากภายในสู่ภายนอก ผู้เรียนต้องริเริมต้นเรียนรู้ให้ได้ว่า ตนเองเองต้องการอะไร
นั่นคือ เป้าหมายของการ Transform
 
 
บทความ โดย ผศ.สุพล พรหมมาพันธุ์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม