หลักสูตร/สาขา

ค่าเทอม

คณะ/สาขาวิชา ลักษณะการกู้ยืมฯ เทอม 1 ตลอด หลักสูตร
สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ 2 41,400 36,400 364,000
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 42,000 37,000 351,800
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 46,200 41,200 374,600

การชำระเงินลงทะเบียน

Option 1 : ชำระโดยการกู้ยืม กยศ. เริ่มต้นเพียง 4,000 บาท ที่เหลือเป็นการกู้ยืมจาก กยศ.
Option 2 : ชำระด้วยตนเองเต็มจำนวน
Option 3 : ชำระด้วยตนเองบางส่วน 15,000 บาท และชำระส่วนที่เหลือภายในวันที่มหาวิทยาลัยกำหนด

รีวิว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นหนึ่งในคณะวิชาที่มีปณิธานที่จะพัฒนานักศึกษาให้มีความโดดเด่นทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ที่นำไปสู่การสร้างความสำเร็จในแบบฉบับที่เป็นตัวตนของนักศึกษา ภายใต้คำกล่าว “Make IT Your Way: สร้างความสำเร็จในแบบฉบับที่เป็นคุณ”  

ทุนการศึกษา

ทุน SPU โควตา

ทุนดีดี ที่ไม่ใช้คะแนน TCAS
ไม่ต้องสอบสัมภาษณ์ ไม่ต้องส่ง Portfolio

ทุน SPU Portfolio 3 ดี

สายสะสม Port รับทุนสูงสุด 40,000 บาท*

ทุน SPU ตัวจริง

สมัคร ยื่นแฟ้มสะสมผลงาน เรียนฟรี 100%*

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป

เน้นการเตรียมบัณฑิตให้รองรับงานเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนของธุรกิจในทุกภาคส่วนที่จำเป็นต้องมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทางสาขามีความมุ่งมั่นจะสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - Cybersecurity

เน้นวิเคราะห์และออกแบบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)

สาขามีความมุ่งมั่นจะสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ปริญญาตรีที่ 2 ภาควันเสาร์-อาทิตย์ (Cyber security)

สาขามีความมุ่งมั่นจะสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในประเทศและต่างประเทศ

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

นำเทรนด์ความรู้ด้าน Artificial Intelligence of Things (AIoT)

ศึกษาพื้นฐานทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ของระบบคอมพิวเตอร์ โดยเน้นการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ทั้งส่วนอุปกรณ์ (Hardware) และส่วนชุดคำสั่ง (Software) ที่ใช้ในกิจการประมวลข้อมูลสารสนเทศต่างๆ…

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ – AIoT

นำเทรนด์ความรู้ด้าน Artificial Intelligence of Things (AIoT)

เป็นผู้นำด้านเทคโนโลยี ออกแบบพัฒนาระบบซอฟต์แวร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้ล้ำหน้า นำเทรนด์ความรู้ด้าน Artificial Intelligence of Things (AIoT)  และเน้นการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทั้งส่วนอุปกรณ์ (Hardware),ส่วนชุดคำสั่ง (Software)

วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ (New)

นักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ (CSI) ได้รับการออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Full Stack

วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ (New)

Full Stack Developer

มีความต้องการใช้งานซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันและดิจิทัลแพลตฟอร์มที่สามารถทำงานแบบฉลาด (Smart) เช่น ระบบการซื้อ-ขายอัจฉริยะ ที่สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมความต้องการของลูกค้า (Customer Insight) สามารถคาดการณ์ ทำนาย ความต้องการใหม่ๆ และยอดขายในอนาคตได้

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (M.S.IT.) มีการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้มีโอกาสปฏิบัติจริง

มีการแลกเปลี่ยนความคิดและวิสัยทัศน์กับคณาจารย์ในหลักสูตรและผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีที่มาจากทั้งในภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมไอที เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ และสร้างความเป็นผู้นำ และผู้ประกอบการยุคใหม่ในวงการไอทีในอนาคต นอกจากนี้เนื้อหาในหลักสูตร M.S.IT. ได้บรรจุเทคโนโลยีอุบัติใหม่ (Emerging Technology) ไว้ในวิชาเลือก เพื่อให้นักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาที่มีเนื้อหาครอบคลุมเทคโนโลยีสมัยใหม่ตามความชอบ

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

เข้าใจในแนวคิดและทักษะการทำวิจัยทั้งแบบเชิงทดลอง

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มุ่งเน้นการบ่มเพาะนักศึกษาให้มีความเข้าใจในแนวคิดและทักษะการทำวิจัยทั้งแบบเชิงทดลอง (Experimental Research) และเชิงสำรวจ (Survey Research) เพื่อสร้างผลงานที่โดดเด่นระดับ Cutting Edge พร้อมด้วยคณาจารย์มีความเชี่ยวชาญเชิงลึกโดยมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการและงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ทั้งยังมีประสบการณ์และผลงานวิจัยในภาคอุตสาหกรรม

ค่าเทอมสาขา

คณะ/สาขาวิชา ลักษณะการกู้ยืมฯ เทอม 1 ตลอด หลักสูตร
สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์ 2 41,400 36,400 364,000
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 42,000 37,000 351,800
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 46,200 41,200 374,600

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ปีการศึกษา เทอม 1 เทอม 2 เทอม 3
คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปีการศึกษาที่ 1 42,000 37,000 37,000 17,300
ปีการศึกษาที่ 2 40,500 39,200 14,500
ปีการศึกษาที่ 3 41,100 42,600 17,300
ปีการศึกษาที่ 4 41,100 19,200
    ลักษณะการกู้ยืมฯ 1
    ค่าเทอม (4ปี) 351,800

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ปีการศึกษา เทอม 1 เทอม 2 เทอม 3
สาขา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ปีการศึกษาที่ 1 46,200 41,200 42,800 15,300
ปีการศึกษาที่ 2 45,700 44,400 13,500
ปีการศึกษาที่ 3 43,100 48,600 10,900
ปีการศึกษาที่ 4 44,900 19,200
    ลักษณะการกู้ยืมฯ 1
    ค่าเทอม (4ปี) 374,600

วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์

ปีการศึกษา เทอม 1 เทอม 2 เทอม 3
สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์และนวัตกรรมการพัฒนาซอฟต์แวร์
ปีการศึกษาที่ 1 41,000 36,400 45,800 10,900
ปีการศึกษาที่ 2 33,100 50,800 12,900
ปีการศึกษาที่ 3 43,100 49,600 8,700
ปีการศึกษาที่ 4 48,500 19,200
    ลักษณะการกู้ยืมฯ 1
    ค่าเทอม (4ปี) 364,000

หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปีการศึกษาจำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร
ปริญญาโท
ภาคเรียน เสาร์-อาทิตย์36200,000

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภาคปกติ,วันอาทิตย์

ปีการศึกษา เทอม 1 เทอม 2 เทอม 3
ภาคเรียน ปกติ
ปีการศึกษาที่ 1 52,400  47,400 50,800 22,700
ปีการศึกษาที่ 2 48,500 19,200 23,700
    ค่าเทอม (2ปี) 217,300
ภาคเรียน วันอาทิตย์
ปีการศึกษาที่ 1 52,400  47,400 43,400 22,700
ปีการศึกษาที่ 1 44,300 34,000 20,500
    ลักษณะการกู้ยืมฯ 1
    ค่าเทอม (2ปี) 217,300

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปีการศึกษาจำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร
ปริญญาโท
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ48630,000